มองโลกแบบวิกรม ตอน สะพานเชื่อมมหาสมุทรแปซิฟิกสู่มหาสมุทรอินเดีย
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
มองโลกแบบวิกรม ตอนที่ 8 11/07/55 ตอน สะพานเชื่อมมหาสมุทรแปซิฟิกสู่มหาสมุทรอินเดีย
มองโลกแบบวิกรม คือรายการที่จะทำให้ผู้ชมเข้าใจถึงความสำคัญของคำว่า \”ประชาคมอาเซียน\” ผ่านประสบการณ์และมุมมองของ วิกรม กรมดิษฐ์ กูรูเศรษฐกิจและการลงทุน ผู้มีวิสัยทัศน์และแนวคิดที่ก้าวกระโดด
มองโลกแบบวิกรม จึงเปรียบเสมือนหน้าต่างบานใหญ่ ที่เปิดให้คนไทยมองเห็นโอกาส โอกาสที่จะทำให้เรารู้เท่าทัน และพร้อมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต \”เพราะประชาคมอาเซียน คือเรื่องของเราทุกคน\”
ติดตามชมรายการมองโลกแบบวิกรม
ได้ทุกวันจันทร์ศุกร์ เวลา 05.50 05.55 น. ทางไทยทีวีสีช่อง 3
Facebook รายการ : https://www.facebook.com/MongLokBaebVikrom
รวมพลังกด Like (ถูกใจ) http://goo.gl/b8SE6 แฟนเพจ เพื่อเป็นการแสดงถึงความตั้งใจในการทำความดีเพื่อถวายแด่ \”พระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว\” ของพวกเราชาวไทย
คนไทยต้องรักกัน และร่วมกันปลูกจิตสำนึกให้ทุกคน รักชาติ รักแผ่นดิน รักในหลวง
Like (ถูกใจ) http://goo.gl/b3haH
7 การค้นพบใต้ทะเลมืดเจอสิ่งที่น่าตกใจ (ขนลุกมาก!!)
ขอบคุณทุกยอดวิวและทุกการติดตามผมจะลงคลิปสัปดาห์ละ 2 คลิป
กดกระดิ่งเพื่อรอการแจ้งเตือนคลิปใหม่ได้เลย รักทุกคน ✔
☻ ติดตามผมได้ที่ ☻
FB : https://is.gd/FTK7sc
☏ ติดต่องาน/สปอนเซอร์
FB : พริกไทยดำ Studio
|ลากสู้คลื่น 4เมตร เรือกระโดดเป็นกบ สลิงจะขาดมั้ย!!!
เพื่อความบันเทิงเท่านั้น
รวมพลคนรักเรือประมง ขออนุญาตเจ้าของเรือเเละเจ้าของคลิปครับ โดมชิลล์
===================================
https://www.facebook.com/sgoiapn012
IG.dome_dumrong
==================================
ทำไมน้ำในสองมหาสมุทรจึงไม่ไหลรวมกัน
เมื่อคุณดูแผนที่คุณคงคิดว่าทะเลและมหาสมุทรทั้งหมดมันไหลมารวมกันจนดูเหมือนว่าเป็นมหาสมุทรผืนใหญ่ผืนเดียวและคนเราก็ตั้งชื่อแต่ละส่วนของมันให้แตกต่างกันออกไป แต่คุณจะต้องประหลาดใจว่าพวกมันมีการแบ่งเขตแดนกันอย่างไร!
เส้นแบ่งระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิก [มหาสมุทร] และมหาสมุทรแอตแลนติกเป็นเหมือนเส้นแบ่งระหว่างโลก 2 โลก ดูเหมือนว่าทั้งสองจะมีกำแพงที่มองไม่เห็นกั้นกลางไม่ให้พวกมันไหลมารวมกัน แล้ว ทำไมมันถึงเป็นเช่นนั้นล่ะ? แน่นอนมันไม่มีกำแพงล่องหนอะไรนั่นหรอก และน้ำยังไงก็คือน้ำ ดังนั้นอะไรที่ตัวการที่ทำให้พวกมันไม่ผสมเข้าด้วยกัน?
timestamps:
น้ำมีความแตกต่างกันเช่นกัน! 00:40
แฮโลไคลน์ คืออะไร? 01:03
ไคลน์ ที่งดงามที่สุดในโลก:
ทะเลเหนือและทะเลบอลติก 4:38
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและมหาสมุทรแอตแลนติก 5:04
ทะเลแคริบเบียนและมหาสมุทรแอตแลนติก 5:16
แม่น้ำซูรินามและมหาสมุทรแอตแลนติก 5:36
แม่น้ำอุรุกวัยและน้ำที่ไหลผ่านตัวเอง 5:43
แม่น้ำริโอเนโกร และแม่น้ำโซลิโม่ 5:58
โมเซลและไรน์ 6:19
อิลซ์,ดานูบ และอินน์ 6:30
แม่น้ำอะลัคนานดาและบากิราติ 6:48
อีร์ติชและอูบา6:56
แม่น้ำเจียหลิง และแม่น้ำแยงซี 7:11
อีร์ติชและออม 7:20
แม่น้ำชูย่าและคาทูนอ7:20
แม่น้ำกรีนและแม่น้ำโคโลราโด 7:50
แม่น้ำ โรน และ อาร์ฟ 8:10
มหาสมุทร แม่น้ำ ชีวิตสดใส
สรุป:
มหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรแปซิฟิกมีความหนาแน่นและมีลักษณะทางเคมีที่ต่างกันเช่นระดับความเค็มและคุณภาพอื่นๆ เห็นได้ชัดว่าฝั่งหนึ่งมีสีที่แตกต่างอย่างชัดเจน
แฮโลไคลน์ คือพรมแดนระหว่างน้ำที่มีระดับความเค็มต่างกัน เป็นสิ่งที่น่าตื่นเต้นที่สุดและนี่คือสิ่งที่ทำให้เรามองเห็นจุดบรรจบกัน
แฮโลไคลน์ เกิดขึ้นเมื่อน้ำในมหาสมุทรหรือทะเลมีความเค็มอย่างน้อยมากกว่า 5 เท่า ของน้ำในอีกด้านหนึ่ง
ความแตกต่างที่สำคัญอีกประการหนึ่งระหว่างน้ำของมหาสมุทรทั้งสองคือ แรงของการเชื่อมต่อของโมเลกุลหรือความต้านทานแรงตึงผิว
บางทีนานไปพวกมันอาจเริ่มไหลผสมกัน แต่ด้วยกระแสการไหลที่ตรงข้ามกัน พวกมันจึงไม่มีทางเป็นแบบนั้นได้
มันยังมี เทอร์โมไคลน์ ที่เป็นตัวแบ่งกันความแตกต่างของน้ำทั้งสองในด้านอุณหภูมิ เช่นกระแสน้ำอุ่นในกัลฟ์สตรีมและกระแสน้ำเย็นในแอตแลนติกเหนือ
ทะเลเหนือและทะเลบอลติกบรรจบกันใกล้กับเมืองสคาเกนประเทศเดนมาร์ก พวกมันไม่ไหลรวมกันเพราะมีความหนาแน่นที่แตกต่างกัน
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและมหาสมุทรแอตแลนติกพบกันที่ช่องแคบยิบรอลตาร์และมีความหนาแน่นและความเค็มต่างกันดังนั้นน้ำจึงไม่ผสมกัน
แม่น้ำอุรุกวัยและน้ำที่ไหลผ่านของมันเอง ทั้งสองบรรจบกันที่จังหวัดมิซิโอเนส ในอาร์เจนตินา ส่วนหนึ่งมันมีความสะอาดเพียงพอเพื่อใช้การเกษตรแต่อีกส่วนที่เหลือมันเกือบกลายเป็นสีแดงเนื่องจากดินโคลนในช่วงฤดูฝน
โมเซลและไรน์พวกมันบรรจบกันในโคเบลนซ์ประเทศเยอรมนี แม่น้ำไรน์ มีสีที่อ่อนกว่าและ โมเซลมีสีเข้มกว่า
แม่น้ำอะลัคนานดาและบากิราติทั้งสองบรรจบกันในอินเดีย อะลัคนานดา มีสีเข้มและ บากิราติ มีสีอ่อน
แม่น้ำเจียหลิง และแม่น้ำแยงซีบรรจบกันที่เมืองฉงชิ่งประเทศจีน เจียหลิงสะอาดและแม่น้ำแยงซีเป็นสีน้ำตาล
แม่น้ำชูย่า และ คาทูนบรรจบกันในสาธารณรัฐอัลไตประเทศรัสเซียน้ำของ ชูย่า มีสีขาวขุ่นแปลกตาและดูขุ่นข้น ส่วน คาทูน นั้นเป็นสีเทอร์ควอยซ์ใส ในบางครั้งทั้งสองไหลเข้าหากันจนทำให้เกิดสีที่ผสมกันระหว่างสองสี
แม่น้ำโรน และอาร์ฟพวกมันไหลเข้าหากันในเจนีวาประเทศสวิสเซอร์แลนด์ โรนเป็นแม่น้ำบริสุทธิ์ที่ไหลออกมาจากทะเลสาบของเจนีวา ส่วน อาร์ฟ นั้นมีความขุ่นมาก จากธารน้ำแข็งของหุบเขา ชาโมนิกซ์
กดติดตามช่องชีวิตสดใส http://bit.do/brightside_thai
เพลงของ Epidemic Sound https://www.epidemicsound.com/
ของในสต๊อก (รูปภาพ, วิดีโอ และอื่นๆ):
https://www.depositphotos.com
https://www.shutterstock.com
https://www.eastnews.ru
นาทีชีวิต! อินเดียท่วมฉับพลัน สูญหายเกินครึ่งร้อย | TNN ข่าวดึก | 21 พ.ย. 64
ภัยธรรมชาติต่างประเทศ พบว่าเวลานี้ประเทศอินเดีย กำลังเผชิญฝนตกหนักและน้ำท่วมฉับพลัน ทำให้มีผู้เสียชีวิตเพิ่มเป็น 29 ราย และสูญหายอีกหลายสิบคน ขณะที่มีการเผยแพร่ภาพปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วมที่แสดงให้เห็นถึงความรุนแรงน้ำท่วมครั้งนี้
ช่องทางติดตามสถานีข่าว TNN ช่อง16
https://www.tnnthailand.com
https://tv.trueid.net/live/tnn16
https://www.youtube.com/c/tnn16
https://www.facebook.com/TNNthailand/
https://www.facebook.com/TNN16LIVE/
https://twitter.com/tnnthailand
https://www.instagram.com/tnn_online/
https://www.tiktok.com/@tnnonline
Line @TNNONLINE หรือคลิก https://lin.ee/4fP2tltIo
ทันโลก ทันเศรษฐกิจ ทันทุกความจริง กับ TNNช่อง16 สถานีข่าวที่ถือหลักการของการนำเสนอข่าวตรงประเด็น รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และเป็นกลาง โดยทีมข่าวมืออาชีพ
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆWiki